หลักสูตร - เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน ระดับบริหาร


สถาบันฝึกอบรม Safetyinthai

 

ได้รับอนุญาตจาก

 

 

บริษัท ท๊อป โปรเฟสชั่นแนล แอนด์ ดีเวลลอปเมนต์ จำกัด

 

ได้รับใบรับรองหลักสูตรการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ความปลอดภัย ระดับ หัวหน้างาน 

และ ระดับ บริหาร 

 

จากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

 

 

ใบรับรองการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับหัวหน้างาน

 ได้รับใบรับรองการฝึกอบรม
หลักสูตร
เจ้าหน้าที่ความปลอดภัย
ในการทำงา
ระดับหัวหน้างาน
และระดับบริหาร
จากกรมสวัสดิการ
และคุ้มครอง
แรงงาน



 

  แผนการฝึกอบรม จป. ศูนย์ทดสอบมาตรฐานฝึมือแรงงาน ปี 2566/2023 


หลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน เรียนแบบยุคใหม่

 สะดวกสบาย ราคาประหยัด ปลอดภัย และได้เรียนรู้บทบาทหน้าที่

สำคัญของ จป.หัวหน้างาน จป.บริหาร  จป.เทคนิค 

คปอ.  พร้อมวิธีการปฏิบัติตามที่กฎหมายกำหนด 

เรียนรู้วิธีการวางแผนป้องกันการเกิดอุบัติเหตุในการทำงาน

ให้เกิดความปลอดภัยในองค์กร ศูนย์ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน 

ได้รับอนุญาตจาก กรมพัฒนาฝีมือแรงงานแห่งชาติ 

เราพร้อมให้บริการฝึกอบรมในหลักสูตรตอกเสาเข็ม โฟล์คลิฟท์ 

ไฟฟ้า ทำงานบนที่สูงปั้นจั่น งานเชื่อม นั่งร้าน แอร์

 


ตารางอบรมหลักสูตรออนไลน์

หลักสูตร จป.บริหาร

สามารถอบรมได้ทั่วประเทศ

สัมมนาออนไลน์ผ่านโปรแกรม ZOOM Online



รุ่นที่

วันที่จัดอบรม

ราคาไม่รวม VAT 7%

หลักสูตร จป

จองอบรม

บุคคลทั่วไป

สมาชิก

 

            

 

หลักสูตร : เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน


ระดับบริหาร



 

 

หลักการและเหตุผล        

          กฎกระทรวงแรงงาน ที่กำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2549 ให้ใช้บังคับแก่กิจการหรือสถานประกอบกิจการ ดังต่อไปนี้

          (1) การทำเหมืองแร่ เหมืองหิน กิจการปิโตรเลียมหรือปิโตรเคมี

          (2) การทำ ผลิต ประกอบ บรรจุ ซ่อม ซ่อมบำรุง เก็บรักษา ปรับปรุง ตกแต่ง เสริมแต่ง ดัดแปลง แปรสภาพ ทำให้เสีย หรือทำลายซึ่งวัตถุหรือทรัพย์สิน รวมทั้งการต่อเรือ การให้กำเนิด แปลง และจ่ายไฟฟ้าหรือพลังงานอย่างอื่น

          (3) การก่อสร้าง ต่อเติม ติดตั้ง ซ่อม ซ่อมบำรุง ดัดแปลง หรือรื้อถอนอาคาร สนามบิน ทางรถไฟ ทางรถราง ทางรถใต้ดิน ท่าเรือ อู่เรือ สะพานเทียบเรือ ทางน้ำ ถนน เขื่อน อุโมงค์ สะพาน ท่อระบาย ท่อน้ำ โทรเลข โทรศัพท์ ไฟฟ้า ก๊าซหรือประปา หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ รวมทั้งการเตรียมหรือวางรากฐานของการก่อสร้าง

          (4) การขนส่งคนโดยสารหรือสินค้าโดยทางบก ทางน้ำ ทางอากาศ และรวมทั้งการบรรทุกขนถ่ายสินค้า

          (5) สถานีบริการหรือจำหน่ายน้ำมันเชื้อเพลิงหรือก๊าซ

          (6) โรงแรม

          (7) ห้างสรรพสินค้า

          (8) สถานพยาบาล

          (9) สถาบันทางการเงิน

          (10) สถานตรวจทดสอบทางกายภาพ

          (11) สถานบริการบันเทิง นันทนาการ หรือการกีฬา

          (12) สถานปฏิบัติการทางเคมีหรือชีวภาพ

          (13) สำนกงานที่ปฏิบัติงานสนับสนุนสถานประกอบกิจการตาม (๑) ถึง (๑๒)

          (14) กิจการอื่นตามที่กระทรวงแรงงานประกาศกำหนด

          **หมายเหตุ**  กำหนดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับหัวหน้างาน ระดับเทคนิค ระดับเทคนิคขั้นสูง ระดับวิชาชีพ ระดับบริหาร คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานและหัวหน้าหน่วยงาน เพื่อทำหน้าที่ในการบริหารจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานของสถานประกอบกิจการ


 

วัตถุประสงค์

          1. เพื่อให้นายจ้างปฏิบัติตามกฎหมายความปลอดภัยในการทำงาน

          2เพื่อให้ลูกจ้างที่มีคุณสมบัติมีความรู้ ความเข้าใจและปฏิบัติหน้าที่ได้ตามที่กฎหมายกำหนด



วิทยากร : ผู้ทรงคุณวุฒิ     

วิธีการอบรม การบรรยาย , Workshop 

สถานที่อบรม : บริษัทลูกค้า/สถานที่ลูกค้าจัดให้

ผู้เข้าร่วมอบรม เป็นลูกจ้างระดับบริหารของหน่วยงานได้รับการยินยอมจากนายจ้างให้เข้ารับการอบรม

ระยะเวลา 2 วัน (12ชั่วโมง)

สถานที่อบรม : บริษัทฯ ลูกค้าหรือสถานที่ที่ลูกค้าจัดให้


 

 

 

พระราชบัญญัติ

ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน

พ.ศ.2554

" เนื่องด้วยพระราชบัญญัติความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพ

แวดล้อมในการทํางาน พ.ศ.๒๕๕๔ " กำหนดไว้ดังนี้

      มาตรา ๑๓ ให้นายจ้างจัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัย

ในการทํางาน บุคลากรหน่วยงานหรือคณะบุคคลเพื่อดําเนิน

การด้านความปลอดภัยในสถานประกอบกิจการตามหลักเกณฑ์

วิธีการและเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวงล เจ้าหน้าที่ความปลอดภัย

ในการทํางานและบุคลากรตามวรรคหนึ่งจะต้องขึ้นทะเบียนต่อ
กรมสวัสดิการ
และคุ้มครองแรงงานให้นําบทบัญญัติ

      มาตรา ๙ วรรคสอง และมาตรา๑๐ มาใช้บังคับกับการขึ้นทะเบียน
เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทํางาน โดยอนุโลม

      มาตรา ๕๖ นายจ้างผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๓ มาตรา ๑๖ หรือ

      มาตรา ๓๒ ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกิน

สองแสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

กิจการที่จำเป็นต้องมีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน (จป.)

      ตามพรบ.มีดังต่อไปนี้ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม

ในการทํางาน พ.ศ.๒๕๕๔ กำหนดให้สถานประกอบการเหล่านี้จำเป็นต้อง

มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน (จป.)

 

      (1) เหมืองแร่ เหมืองหิน ปิโตรเลียมหรือปิโตรเคมี

      (2) โรงงานอุตสาหกรรม อู่ต่อเรือ  ธุรกิจพลังงาน

      (3) งานก่อสร้าง

      (4) การขนส่งคมนาคมทั้งคนโดยสารและการบรรทุกขนถ่าสินค้า

      (5) สถานีบริการน้ํามันเชื้อเพลิงหรือก๊าซ 

      (6) โรงแรม

      (7) ห้างสรรพสินค้า

      (8) สถานพยาบาล

      (9) สถาบันทางการเงิน

      (10) สถานตรวจทดสอบทางกายภาพ

      (11) สถานบริการบันเทิง นันทนาการ หรือการกีฬา

      (12) สถานปฏิบัติการทางเคมีหรือชีวภาพ

      (13) สำนักงานที่ปฏิบัติงานสนับสนุนสถานประกอบกิจการตาม (1)ถึง(12)

      (14) กิจการอื่นตามที่กระทรวงแรงงานประกาศกำหนด  

จป.คืออะไร ?

      คือ เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน

เป็นบุคลากรทางด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยที่กฎหมายกำหนด  


 

 
 

 

 





 




สิ่งที่ได้รับหลังผ่านการอบรม 

 เมื่อมาอบรมกับเราท่านจะได้รับ
ใบประกาศวุฒิบัตรผ่านการอบรมหรือใบเซอร์
อย่างเป็นทางการ 1 ฉบับ/ท่าน


 


ภาพบรรยากาศการอบรม

    

             

    

    

    

    

    

    

   

       

         


มาตรการป้องกันการระบาดของเชื้อ 
Covid-19

สำหรับลูกค้าที่มาอบรมสัมมนา





มาตรการป้องกันการระบาดของเชื้อ 
Covid-19

สำหรับลูกค้าที่มาอบรมสัมมนา



เรามีบริการอาหารกลางวัน
และขนมเบรคให้ผู้เข้าอบรม

(เฉพาะผู้ที่เข้ารับการอบรม PUBLIC TRAINING)

บริการดี อาหารอร่อย เมนูอาหารหลากหลาย กับบรรยากาศที่ดูสบายตาเหมือนได้มาพักผ่อน พร้อมเจ้าหน้าที่
ยินดีให้บริการตลอด
รับบริการให้เช่าสถานที่ อบรม-สัมมนา ประชุม, งานมงคล อื่นๆ




ลูกค้าบางส่วนของเรา

ขอบคุณลูกค้าทุกท่านที่ไว้วางใจและเลือกใช้บริการอบรมกับเรา 
มากกว่าหลายบริษัทชั้นนำ

Visitors: 1,138,208